ข่าว: ข่าวประกาศ

  • 02 กรกฎาคม 2024, 10:46:09

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - admin

หน้า: 1 ... 100 101 [102] 103 104 ... 115
1516
ดูแล้วงงครับ

เยอะแยะไปหมด

แล้ว eth1 มาจากไหน มันน่าจะมีแค่ eth0, ppp0, ppp1

ส่วนการ Forward Port ก็มีเฉพาะ DNAT ยังไม่มี SNAT  (อ้อเห็นแล้ว)

งงๆ ว่าอันไหนมันวิ่งไปไหน แล้วแผนผังอยู่ยังไง

ช่วย ifconfig แสดง interface ทั้งหมดหน่อยครับ

1517
ผลการทดลองต่อมา

ทำการพิมพ์คำสั่งตามลำดับ

root@ubuntu:~# iptables -A OUTPUT -t mangle -p icmp -d 203.150.217.1 -j MARK --set-mark 0x111
root@ubuntu:~# iptables -A OUTPUT -t mangle -p icmp -d 203.144.244.1 -j MARK --set-mark 0x222

กำหนดให้ปิง 203.150.217.1 ถูก Mark ด้วยค่า 0x111
กำหนดให้ปิง 203.144.244.1 ถูก Mark ด้วยค่า 0x222


root@ubuntu:~# ip rule add fwmark 0x111 lookup 111
root@ubuntu:~# ip rule add fwmark 0x222 lookup 222

กำหนดให้ packet ที่ถูก Mark ด้วยค่า 0x111 วิ่งออกทาง route table 111
กำหนดให้ packet ที่ถูก Mark ด้วยค่า 0x222 วิ่งออกทาง route table 222


root@ubuntu:~# ip route add table 111 default dev ppp101
root@ubuntu:~# ip route add table 222 default dev ppp102

กำหนดให้ route table 111 วิ่งออกทาง ppp101
กำหนดให้ route table 222 วิ่งออกทาง ppp102


root@ubuntu:~# ping -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=119 time=21.4 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=119 time=20.3 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=119 time=21.2 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=119 time=21.3 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=119 time=21.3 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3996ms
rtt min/avg/max/mdev = 20.374/21.163/21.461/0.409 ms
root@ubuntu:~# ping -c 5 203.144.244.1
PING 203.144.244.1 (203.144.244.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=248 time=13.0 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=248 time=12.8 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=248 time=11.3 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=248 time=11.3 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=248 time=11.8 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3998ms
rtt min/avg/max/mdev = 11.327/12.088/13.070/0.736 ms

เมื่อทำการปิงจะเห็นว่า เมื่อปิง 203.150.217.1 จะได้ค่าปิง 20ms แสดงว่าข้อมูลวิ่งออกทาง ppp101
เมื่อทำการปิง 203.144.244.1 จะได้ค่าปิง 10ms แสดงว่าข้อมูลวิ่งออกทาง ppp102
ซึ่งตรงกับที่เราได้สร้างไว้


root@ubuntu:~# ip route rep table 222 default dev ppp101

ทดสอบทำการเปลี่ยน route table 222 ให้ออกทาง ppp101 แทน
นั่นแสดงว่า เมื่อปิง 203.144.244.1 จะต้องได้ 20ms
ส่วนค่าปิง 203.150.217.1 ก็คงยังเหมือนเดิม คือได้ 20ms เพราะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไร


root@ubuntu:~# ping -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=119 time=20.8 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=119 time=20.9 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=119 time=20.6 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=119 time=20.7 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=119 time=20.8 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3996ms
rtt min/avg/max/mdev = 20.612/20.793/20.926/0.107 ms
root@ubuntu:~# ping -c 5 203.144.244.1
PING 203.144.244.1 (203.144.244.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=249 time=34.1 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=249 time=21.7 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=249 time=20.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=249 time=22.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=249 time=22.3 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 4000ms
rtt min/avg/max/mdev = 20.416/24.217/34.158/5.023 ms

root@ubuntu:~# ip route rep table 111 default dev ppp102

ทำการเปลี่ยน route table 111 บ้าง แล้วดูผลการเปลี่ยนแปลง

root@ubuntu:~# ping -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=121 time=11.6 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=121 time=10.7 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=121 time=9.92 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=121 time=10.6 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=121 time=9.85 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 4003ms
rtt min/avg/max/mdev = 9.855/10.552/11.626/0.655 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=249 time=21.5 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=249 time=21.2 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=249 time=21.5 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=249 time=21.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=249 time=21.1 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3996ms
rtt min/avg/max/mdev = 21.160/21.409/21.592/0.230 ms
root@ubuntu:~#

นำไปศึกษากันต่อดูนะครับ

1518
ตัวอย่างผลการทดลองด้านบน

root@ubuntu:~# ping -I ppp101 -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) from 58.9.4.134 ppp101: 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=119 time=20.7 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=119 time=20.4 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=119 time=21.3 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=119 time=20.6 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=119 time=20.3 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3996ms
rtt min/avg/max/mdev = 20.388/20.735/21.378/0.380 ms
root@ubuntu:~# ping -I ppp101 -c 5 203.144.244.1
PING 203.144.244.1 (203.144.244.1) from 58.9.4.134 ppp101: 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=249 time=21.5 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=249 time=20.6 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=249 time=20.5 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=249 time=20.7 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=249 time=21.2 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3999ms
rtt min/avg/max/mdev = 20.545/20.951/21.564/0.417 ms
root@ubuntu:~# ping -I ppp102 -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) from 58.136.75.122 ppp102: 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=121 time=12.1 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=121 time=9.95 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=121 time=10.3 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=121 time=9.93 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=121 time=10.1 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3999ms
rtt min/avg/max/mdev = 9.937/10.514/12.169/0.850 ms
root@ubuntu:~# ping -I ppp102 -c 5 203.144.244.1
PING 203.144.244.1 (203.144.244.1) from 58.136.75.122 ppp102: 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=248 time=12.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=248 time=11.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=248 time=11.4 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=248 time=11.3 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=248 time=12.0 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3997ms
rtt min/avg/max/mdev = 11.315/11.728/12.419/0.422 ms
root@ubuntu:~# ping -c 5 203.150.217.1
PING 203.150.217.1 (203.150.217.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=1 ttl=121 time=15.0 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=2 ttl=121 time=10.9 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=3 ttl=121 time=10.1 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=4 ttl=121 time=10.9 ms
64 bytes from 203.150.217.1: icmp_seq=5 ttl=121 time=10.2 ms

--- 203.150.217.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 3997ms
rtt min/avg/max/mdev = 10.173/11.482/15.083/1.833 ms
root@ubuntu:~# ping -c 5 203.144.244.1
PING 203.144.244.1 (203.144.244.1) 56(84) bytes of data.
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=1 ttl=248 time=15.6 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=2 ttl=248 time=11.1 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=3 ttl=248 time=11.5 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=4 ttl=248 time=11.0 ms
64 bytes from 203.144.244.1: icmp_seq=5 ttl=248 time=11.2 ms

--- 203.144.244.1 ping statistics ---
5 packets transmitted, 5 received, 0% packet loss, time 4003ms
rtt min/avg/max/mdev = 11.039/12.131/15.627/1.758 ms
root@ubuntu:~# ip route
210.1.48.12 dev ppp102  proto kernel  scope link  src 58.136.75.122
58.9.4.1 dev ppp101  proto kernel  scope link  src 58.9.4.134
192.168.0.0/24 dev eth0  proto kernel  scope link  src 192.168.0.254
default dev ppp102  scope link
root@ubuntu:~#

จากผลการทดลองแรก จะได้ว่า
ปิงผ่าน ppp101 ความเร็วประมาณ 20ms
ปิงผ่าน ppp102 ความเร็วประมาณ 10ms
ถ้าปิงแบบไม่มีการกำหนด จะได้ความเร็ว 10ms
เนื่องจากว่า default route ได้กำหนด ไว้เป็น ppp102

1519
LAB การทดลองเพื่อทดสอบความเข้าใจเรื่อง MultiWAN การ Mark การกำหนด rule และการกำหนด route

ขั้นตอนแรก ให้ทำการบันทึกค่าปิงของ WAN1 และ WAN2 (ถ้า Internet คนละ ISP หรือคนละ Speed จะทำให้เข้าใจง่าย)

โดยใช้คำสั่ง

ตรวจเช็คความเร็วของเส้นแรก
ping -I ppp101 -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -I ppp101 -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

ตรวจเช็คความเร็วของเส้นที่สอง
ping -I ppp102 -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -I ppp102 -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

ทำการปิงโดยไม่มีการกำหนดเส้น
ping -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

ทำการตรวจสอบ default route ด้วยการพิมพ์คำสั่ง ip route แล้วจดบันทึกค่า default route บรรทัดสุดท้าย

ทำการ MARK Packet ping ออกเป็น 2 ชุดดังนี้
iptables -A OUTPUT -t mangle -p icmp -d 203.150.217.1 -j MARK --set-mark 0x111
iptables -A OUTPUT -t mangle -p icmp -d 203.144.244.1 -j MARK --set-mark 0x222

ทำการสร้าง ip rule ขึ้นมา
ip rule add fwmark 0x111 lookup 111
ip rule add fwmark 0x222 lookup 222

ทำการสร้าง route table ขึ้นมา
ip route add table 111 default dev ppp101
ip route add table 222 default dev ppp102

ทำการปิงโดยไม่มีการกำหนดเส้น
ping -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

ทำการเปลี่ยน route table ดังนี้
ip route rep table 222 default dev ppp101

ทำการปิงโดยไม่มีการกำหนดเส้น
ping -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

ทำการเปลี่ยน route table ดังนี้
ip route rep table 111 default dev ppp102

ทำการปิงโดยไม่มีการกำหนดเส้น
ping -c 5 203.150.217.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้
ping -c 5 203.144.244.1 แล้วทำการจดบันทึกค่า time ที่ได้

เสร็จแล้ว ลองทบทวนความเข้าใจดูครับ ว่าทำไมผลถึงออกมาเป็นเช่นนั้น

1520

จากรูปจะเห็นว่า Server ประกอบด้วย 3 Interface คือ eth0, eth1, และ eth2 ตามลำดับ

กำหนดให้ eth0 เป็น LAN Interface
กำหนดให้ eth1 เป็น WAN1 Interface เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่าน ppp101
กำหนดให้ eth2 เป็น WAN2 Interface เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่าน ppp102

หลักการทำงานของ MultiWAN นั้นประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ๆ คือ

1. การ Mark Packet
2. การกำหนด rule
3. การสร้าง route table

กรณี Packet จากวิ่งจาก LAN ไป WAN จะได้ว่า

LAN ---> MARK 0x101 --> ip rule from all fwmark 0x101 lookup 101 --> ip route add table 101 default dev ppp101 ---> WAN1

หรือ

LAN ---> MARK 0x102 --> ip rule from all fwmark 0x102 lookup 102 --> ip route add table 102 default dev ppp102 ---> WAN2

หรือในกรณีให้วิ่งออกทั้ง 2 WAN

LAN ---> MARK 0x250 --> ip rule from all fwmark 0x250 lookup 250 --> ip route add table 250 default equalize nexthop dev ppp101 weight 1 nexthop dev ppp102 weight 1 ---> WAN1/WAN2

กรณีจาก WAN วิ่งเข้ามายัง LAN จะต้องทำการ MARK ว่ามาจาก WAN ไหน เวลาส่งข้อมูลกลับ จะได้วิ่งออกทาง WAN เดิม ถ้าหากออกไม่ตรง WAN เดิมจะทำให้ไม่สามารถเชื่อมต่อได้

ในการ Mark ว่ามาจาก WAN ไหนนั้น ก็ใช้คำสั่ง

iptables -A INPUT -t mangle -i ppp101 -j CONNMARK --set-mark 0x101
iptables -A INPUT -t mangle -i ppp102 -j CONNMARK --set-mark 0x102


การเดินทางของ Packet จะได้ว่า จะมองเป็น Connection ที่เกิดการเชื่อมต่อ

WAN1 ---> CONNMARK 0x101 --> LAN --> Client --> LAN --> state RELATED,ESTABLISHED restore CONNMARK 0x101 --> ip rule from all fwmark 0x101 lookup 101 --> ip route add table 101 default dev ppp101 ---> WAN1

WAN2 ---> CONNMARK 0x102 --> LAN --> Client --> LAN --> state RELATED,ESTABLISHED restore CONNMARK 0x102 --> ip rule from all fwmark 0x102 lookup 102 --> ip route add table 102 default dev ppp102 ---> WAN2

กรณีต่อไปคือ กรณีที่ WAN เชื่อมต่อมายัง Server มาทาง WAN ไหน ก็ต้องออกทาง WAN นั้นเช่นเดียวกัน

Server --> ip rule from IPWAN1 lookup 201 --> ip route add table 201 default dev ppp101 --> WAN1

Server --> ip rule from IPWAN2 lookup 202 --> ip route add table 202 default dev ppp102 --> WAN2

กรณีต่อไปก็คือ กรณีที่ จาก LAN วิ่งไปยัง Server แล้วให้ Server ทำการเชื่อมต่อภายนอก ในกรณีที่เป็น Web Proxy, Frox เป็นต้น

จะต้องทำการ Mark Output ด้วยคำสั่ง

iptables -A OUTPUT -t mangle -p tcp --dport 80 -j MARK --set-mark 0x102

การเดินทางของ Packet ก็จะได้ว่า

Server --> Output Mark 0x102 --> ip rule from all fwmark 0x102 lookup 102 --> ip route add table 102 default dev ppp102 ---> WAN2


1521
ยังไม่เคยลง ClarkConnect กับเครื่องที่แรม 4GB เลย

แต่ถ้าเป็น Ubuntu จะมองเห็น RAM 4GB ถ้าหากมี RAM มากกว่า 4GB ก็แนะนำให้ลงเป็นรุ่น 64bit

ตอนนี้เครื่องลูกค้าที่ติดตั้ง clarkconnect ผมก็ปรับเป็น Ubuntu ให้หมดแล้ว เพื่อความเสถียรและปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์


1522
Linux Server System / คู่มือการติดตั้ง Ubuntu 7.10 ตอนที่ 3
« เมื่อ: 07 กรกฎาคม 2008, 12:47:55 »
เมื่อทำการติดตั้งในขั้นตอนที่ 2 เสร็จแล้ว

Server ก็จะ Reboot 1 ครั้ง แล้วก็ขึ้นหน้าจอให้ทำการ Login


ในขั้นตอนนี้เราจะต้องทำการ Config Modem/Router ให้ทำงานเป็น Bridge Mode

เมื่อทำการ Config เสร็จแล้วก็นำไปต่อกับ eth1 เพื่อทำการเชื่อมต่อ Server สู่อินเตอร์เน็ต

แผนผังการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในขั้นตอนที่ 3

เมื่อทำการเชื่อมต่อเสร็จแล้วก็ดำเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้

ทำการ Login ด้วย User/Pass ที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอนที่ 2

ตรวจสอบว่า Ubuntu มองเห็น LAN Card ทั้งหมดของเราหรือไม่ ด้วยคำสั่ง ifconfig -a | more

จะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น
eth0      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:29:E4:38:8D 
          inet addr:192.168.1.99  Bcast:192.168.1.255  Mask:255.255.255.0
          inet6 addr: fe80::20c:29ff:fee4:388d/64 Scope:Link
          UP BROADCAST RUNNING MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:404 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:333 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:31845 (31.0 KB)  TX bytes:35943 (35.1 KB)
          Interrupt:17 Base address:0x1400

eth1      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:29:E4:38:97 
          inet6 addr: fe80::20c:29ff:fee4:3897/64 Scope:Link
          UP BROADCAST RUNNING MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:176 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:49 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:11686 (11.4 KB)  TX bytes:2174 (2.1 KB)
          Interrupt:18 Base address:0x1480

eth2      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:29:E4:38:A1 
          BROADCAST MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:0 (0.0 b)  TX bytes:0 (0.0 b)
          Interrupt:19 Base address:0x1800

lo        Link encap:Local Loopback 
          inet addr:127.0.0.1  Mask:255.0.0.0
          inet6 addr: ::1/128 Scope:Host
          UP LOOPBACK RUNNING  MTU:16436  Metric:1
          RX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:0
          RX bytes:0 (0.0 b)  TX bytes:0 (0.0 b)

ทำการเชื่อมต่อ Internet โดยใช้คำสั่ง sudo pppoeconf eth1 (ต่อ Modem แบบ Bridge ไว้กับช่อง eth1)

ตอบ Yes

รอสักครู่

ตอบ Yes

ใส่ Username ของ ISP ที่โมเด็มเชื่อมต่ออยู่

ใส่ Password

ตอบ Yes

ตอบ Yes

ตอบ Yes

ตอบ Yes

ตอบ Ok

เสร็จสิ้นการ Config

หากขั้นตอนถูกต้องทุกอย่างจะปรากฎ interface ppp0 เพิ่มขึ้นมา เมื่อใช้คำสั่ง ifconfig

eth0      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:29:E4:38:8D 
          inet addr:192.168.1.99  Bcast:192.168.1.255  Mask:255.255.255.0
          inet6 addr: fe80::20c:29ff:fee4:388d/64 Scope:Link
          UP BROADCAST RUNNING MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:404 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:333 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:31845 (31.0 KB)  TX bytes:35943 (35.1 KB)
          Interrupt:17 Base address:0x1400

eth1      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:29:E4:38:97 
          inet6 addr: fe80::20c:29ff:fee4:3897/64 Scope:Link
          UP BROADCAST RUNNING MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:176 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:49 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:11686 (11.4 KB)  TX bytes:2174 (2.1 KB)
          Interrupt:18 Base address:0x1480

lo        Link encap:Local Loopback 
          inet addr:127.0.0.1  Mask:255.0.0.0
          inet6 addr: ::1/128 Scope:Host
          UP LOOPBACK RUNNING  MTU:16436  Metric:1
          RX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:0
          RX bytes:0 (0.0 b)  TX bytes:0 (0.0 b)

ppp0      Link encap:Point-to-Point Protocol 
          inet addr:118.173.142.218  P-t-P:118.173.142.1  Mask:255.255.255.255
          UP POINTOPOINT RUNNING NOARP MULTICAST  MTU:1432  Metric:1
          RX packets:182918 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:162518 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:3
          RX bytes:157164688 (149.8 MB)  TX bytes:65316086 (62.2 MB)

ให้ทำการแจ้งหมายเลข IP เพื่อให้ทาง Hadyai Internet ได้ทำการ Remote และทำการติดตั้งต่อไป

เมื่อทำการ config เสร็จเรียบร้อยแล้ว (ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง) ก็สามารถใช้งาน MultiWAN Server ได้อย่างสมบูรณ์


1523
Linux Server System / คู่มือการติดตั้ง Ubuntu 7.10 ตอนที่ 2
« เมื่อ: 07 กรกฎาคม 2008, 12:10:45 »
ใส่ชื่อเครื่อง Server

เลือก Guilded - use entire disk

เลือก HDD ขนาดที่ตรงกับที่ติดตั้งไว้ในเครื่อง Server

ตอบ Yes

รอสักครู่

ตอบ Yes

ใส่ชื่อเต็มของผู้ดูแลระบบ

ใส่ Username สำหรับไว้ Login

ใส่ Password (แนะนำว่าจำนวน 6-8 ตัวอักษร)

ทวน Password ที่ใส่อีกครั้ง

รอสักครู่

รออีกแล้ว (อาจจะนานหน่อยถ้าหาก Server ไม่เชื่อมต่อ Internet)

เลือก LAMP และ OpenSSH (เลือกโดยการใช้ปุ่มลูกศรและ Spacebar และกด Tab เพื่อเลือก Continue)

ใส่ Password สำหรับฐานข้อมูล

รอสักครู่

เสร็จสิ้นการติดตั้ง CDROM จะเด้งออกมา เอาแผ่น CD ออกแล้วทำการเลือก Continue เพื่อ Reboot


1524
Linux Server System / คู่มือการติดตั้ง Ubuntu 7.10 ตอนที่ 1
« เมื่อ: 07 กรกฎาคม 2008, 07:49:14 »
แผนผังการเชื่อมต่อ Server ในการติดตั้ง OS

ขั้นตอนในการติดตั้ง Ubuntu 7.10 Server i386

สำหรับลูกค้าที่ใช้บริการติดตั้ง Server ผ่านอินเตอร์เน็ต โดยท่านจะได้รับแผ่น CD 2 แผ่นประกอบด้วย
1. Ubuntu 7.10 Server i386
2. Patch L7 + ipp2p + Kernel Source

ให้ทำการบูตด้วยแผ่น CD โดยใส่แผ่นที่ 1 ลงไป แล้วทำตามขั้นตอนดังนี้

เลือก Install to the hard disk

เลือก English

เลือก other

กดตัว t 5 ครั้งจะเจอประเทศไทย เลือก Thailand

เลือก No

กดปุ่มลูกศรขึ้นบน 2 ครั้ง เลือก Thailand

เลือก Thailand

เลือก Alt + Shift

รอสักครู่

ทำการติดตั้ง Network

ถ้าหากภายในร้านไม่มีระบบ DHCP จะต้องทำการกำหนด IP เอง เลือก Configure Network Manually

กำหนด IP Address

กำหนด Netmask

กำหนด Gateway

กำหนด DNS


1525
http://www.smc.com/files/AE/DS_8024L2.pdf

ฝากดูตัวนี้ด้วยนะครับ (ผมเห็นมี port เพิ่มมา 4 port) ไม่รู้ว่าใช่ที่สำหรับ พ่วงไป Switch ตัวอื่นๆหรือป่าว ครับ

รบกวนด้วยนะครับ หรือแนะนำให้ด้วยนะครับผม ผมหล่ะมึน จิงๆๆๆครับ อิอิ

ดูตาม Spec ก็ถือว่าผ่านนะ ในการจะนำมาใช้พ่วงกับอีก 4 ตัว แต่ Port ที่เพิ่มมานั้นจะเป็น SFP นะครับ
แต่ก็สามารถใช้ Port Gigabit อื่นในการพ่วงได้เหมือนกัน ราคา Switch ตัวนี้ก็ไม่แพงมาก เป็น Layer 2
แบบ Manage  24 Port Gigabit ราคาหมื่นต้นๆ ก็ถือว่าเหมาะสมแล้ว

1526
ผมไม่แน่ใจว่า ทำการ config อะไรไปบ้าง เลยแนะนำไม่ค่อยถูก ว่ายังขาดตกอะไรอยู่

ขั้นตอนการทำ MultiWAN จะมี 3 ส่วนหลัก ๆ

1. iptables การ Mark
2. ip rule สำหรับกำหนด Mark เชื่อมกับ Table ที่เรากำหนด
3. ip route สำหรับสร้าง table ให้สำหรับแต่ละ WAN

เวลาทำ Port Forward กับ Load Balance ควรจะอยู่คนละ Table กัน

เพราะ Port Forward จะต้องกำหนดตายตัว ว่าต้องออกทางไหน เข้าทางไหน
ส่วน Load Balance นั้น จะออกได้ทั้งสอง WAN และเข้าได้ทั้ง สอง WAN เช่นกัน

ลองตรวจสอบดูครับ

1527
1. Port ที่ใช้งาน 22 port มากไปหรือป่าว มีผลต่อที่เสียหรือไม่

อันนี้บอกได้เลยว่า ต่อครบ 24 Port ก็ไม่มีผลเสียอะไร เนื่องจากมันออกแบบมาให้รองรับครบทุก port อยู่แล้วครับ

2. การต่อ adsl เข้ามาด้วยอย่างนี้ มีผลต่อการเสียหายหรือไม่ เพราะทำงานหนักไปหรือป่าวนะ (แต่ในความคิดผมๆ ว่าวงแลนเดียวกันไม่น่าเกี่ยว)

ไม่มีผลหรอกครับ ADSL วิ่งไม่กี่เมกเอง แต่ปัญหาการต่อ Static คือ Modem จะแฮงก์ซะมากกว่า
ถ้าแนะนำ 2 WAN ใส่ LAN Card 2 ใบลงใน Server แล้วต่อแบบ PPPoE จะประสิทธิภาพดีกว่า
แล้วลงทุนซื้อ Modem ที่ Config แบบ Static ไว้สำรองจะดีกว่า

3. เสีย แบบ 3 เดือนครั้ง ในเมื่อ Switch ตัวที่ 2-3-4 ไม่เห็นมีอะไรเลยครับ ใช้มาเป็น ปีๆๆๆกัน ก็ใช้งาน 18-22 port เช่นเดียวกัน

ปัญหาอยู่ที่ 3 port ที่ต่อไป Switch ตัว 2-3-4 นะครับ น่าจะเป็นปัญหาเรื่องของ Switch BackPlane มากกว่า
ถ้าให้ผมเดาตัว 3COM ตัวแรก เป็นรุ่น 10/100 ไม่มี Port Gigabit

แนะนำ
วิธีแรก ก็คือ ลองหา Firmware ใหม่ดู อัพเดทตัว Switch อาจจะช่วยได้บ้าง

อีกวิธีก็คือ ลองสลับตัว 2,3 หรือ 4 กับตัวที่ 1 ดู ว่าตัวที่สลับมาใหม่จะมีปัญหาไหม

วิธีสุดท้าย ก็คงต้องเปลี่ยน Switch ตัว 1 เป็นรุ่นที่รองรับ BackPlane ได้สูงหน่อย เช่นรุ่นที่เป็น Gigabit หรือรุ่นที่รองรับการทำ Stacking หรือรุ่นที่มี Port สำหรับทำ Uplink โดยเฉพาะนะครับ พวกนี้จะมี BackPlane สูง และออกแบบมาสำหรับการต่อพ่วง Switch หลาย ๆ ตัว

1528
ก็มีครับแต่ว่าราคาค่อนข้างสูงหน่อย เนื่องจากต่างพื้นที่

แต่ยังไงจะให้ฝ่ายขายติดต่อสอบถามรายละเอียดอีกทีนึงนะครับ


1529
คุยกับทีมวิจัย / Re: cahce.hadyaiinternet.com
« เมื่อ: 06 กรกฎาคม 2008, 08:31:13 »
หอริมมอ อยู่ระหว่างปรับเพิ่ม b/w อยู่ครับ

เนื่องจากว่าผู้ใช้งานเยอะ ตอนนี้อยู่ที่ 56 ห้อง แต่แบนวิธเส้นหลักแค่ 2Mbps เอง

กำลังคุยกับทางหอพักอัพเป็น 16Mbps (4Mbps 4 เส้นอยู่ครับ) ซึ่งทางหอพักก็ได้ตกลงแล้ว

คาดว่าน่าจะใช้เวลาประมาณ 4-5 วัน คงจะเรียบร้อยครับ

ขอบคุณครับ

1530
Linux Server System / Driver LAN Gigabit Ethernet :: Marvell Technology Group Ltd. 88E8001
« เมื่อ: 06 กรกฎาคม 2008, 02:02:05 »
เป็น Chipset ที่มากับ LAN Card Gigabit ของ TP-Link รุ่น TG-3201

(ถ้าเป็นไปได้ แนะนำให้ซื้อยี่ห้อ SMC ใช้ Chipset Realtek รุ่น SMC9452TX-1
ตัว Ubuntu จะ Detect และมองเห็นเลย โดยไม่ต้องลง Driver เพิ่มเติม)

จะต้องไป download driver ของ Marvell (install_v10.50.1.3.tar.bz2)

วิธีติดตั้งจะแตกต่างไปจากยี่ห้ออื่น ๆ ให้อ่านจาก README

จะได้ driver มาเป็น skge, sk98lin

ก็ติดตั้งได้ปกติ

จากตัวอย่างที่ติดตั้งให้ลูกค้า เครื่องลูกค้าใช้ Mainboard P5K Premium จะมี

Gigabit Onboard 2 Port
Port แรก ด้านบนเป็น Marvell Technology Group Ltd. 88E8056 PCI-E Gigabit Ethernet
Port สอง เป็น Realtek Semiconductor Co., Ltd. RTL-8110SC/8169SC Gigabit Ethernet

และลูกค้าได้ซื้อ LAN Card ของ TP-Link รุ่น TG-3201 มาใส่ 1 ใบ
Port สาม เป็น Marvell Technology Group Ltd. 88E8001 Gigabit Ethernet

เมื่อทำการติดตั้ง Driver เสร็จเรียบร้อย ก็จะสามารถใช้งานได้ทั้ง 3 Port

root@tnet160:~# ethtool -i eth0
driver: sk98lin
version: 10.50.1.3 (01)
firmware-version: N/A
bus-info: 0000:02:00.0

root@tnet160:~# ethtool -i eth1
driver: r8169
version: 2.2LK
firmware-version:
bus-info: 0000:05:04.0

root@tnet160:~# ethtool -i eth2
driver: skge
version: 1.11
firmware-version: N/A
bus-info: 0000:05:01.0

และก็ได้ทำการ compile kernel ใหม่ ที่ support LAN Chipset Marvell โดยเฉพาะ

Linux tnet160 2.6.22.14-l7support-marvell #1 SMP Sat Jul 5 19:34:33 ICT 2008 i686 GNU/Linux


หน้า: 1 ... 100 101 [102] 103 104 ... 115