31
- 22 พฤศจิกายน 2024, 04:26:20
32
สินค้าและบริการ / mini server/pc
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 31 มกราคม 2016, 18:32:17 »รุ่น Celeron
[youtube]DNV68ko7rtI[/youtube]
รุ่น Core i5
[youtube]H87pnLZ4bQ0[/youtube]
ทดสอบเล่นเกมส์ รุ่น i5 5257U
[youtube]JE_jdpfeb70[/youtube]
Coming Soon...
[youtube]DNV68ko7rtI[/youtube]
รุ่น Core i5
[youtube]H87pnLZ4bQ0[/youtube]
ทดสอบเล่นเกมส์ รุ่น i5 5257U
[youtube]JE_jdpfeb70[/youtube]
Coming Soon...
33
คุยกับทีมวิจัย / ขั้นตอนการติดตั้ง module geoip สำหรับ iptables บน Ubuntu
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 16 มกราคม 2016, 04:36:38 »ขั้นตอนการติดตั้ง
- ทำการติดตั้ง package ที่ต้องใช้งาน
#apt-get install xtables-addons-common libtext-csv-xs-perl unzip
- สร้าง folder สำหรับเก็บฐานข้อมูล
#mkdir /usr/share/xt_geoip
- ทำการ download ฐานข้อมูลล่าสุด
#/usr/lib/xtables-addons/xt_geoip_dl
- ทำการแปลงฐานข้อมูล
#/usr/lib/xtables-addons/xt_geoip_build -D /usr/share/xt_geoip *.csv
เป็นอันเรียบร้อย
สามารถทดสอบได้โดย
#iptables -m geoip --help
ถ้าไม่มี error ก็แสดงว่าสำเร็จ
-สำหรับการ mark ก็ใช้เป็น
#iptables -A PREROUTING -t mangle -m geoip --dst-cc TH -j domestic-route
#iptables -A PREROUTING -t mangle -m geoip ! --dst-cc TH -j international-route
เป็นต้น
- ทำการติดตั้ง package ที่ต้องใช้งาน
#apt-get install xtables-addons-common libtext-csv-xs-perl unzip
- สร้าง folder สำหรับเก็บฐานข้อมูล
#mkdir /usr/share/xt_geoip
- ทำการ download ฐานข้อมูลล่าสุด
#/usr/lib/xtables-addons/xt_geoip_dl
- ทำการแปลงฐานข้อมูล
#/usr/lib/xtables-addons/xt_geoip_build -D /usr/share/xt_geoip *.csv
เป็นอันเรียบร้อย
สามารถทดสอบได้โดย
#iptables -m geoip --help
ถ้าไม่มี error ก็แสดงว่าสำเร็จ
-สำหรับการ mark ก็ใช้เป็น
#iptables -A PREROUTING -t mangle -m geoip --dst-cc TH -j domestic-route
#iptables -A PREROUTING -t mangle -m geoip ! --dst-cc TH -j international-route
เป็นต้น
34
คุยกับทีมวิจัย / Re: บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ด
« กระทู้ล่าสุด โดย nut_kkc เมื่อ 13 ธันวาคม 2015, 07:31:32 » มีเครื่อง write smartcard ไหมคับ ฮ่าๆๆอยากเอามาใช้งานเฉพาะด้าน
35
คุยกับทีมวิจัย / Re: บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ด
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 13 ธันวาคม 2015, 02:18:26 »scriptor
#SELECT
00 A4 04 00 08 A0 00 00 00 54 48 00 01
00 C0 00 00 0A
#VERSION
80 B0 00 00 02 00 04
00 C0 00 00 04
#CID
80 B0 00 04 02 00 0D
00 C0 00 00 0D
#THAI NAME
80 B0 00 11 02 00 64
00 C0 00 00 64
#ENG NAME
80 B0 00 75 02 00 64
00 C0 00 00 64
#Birth Date
80 B0 00 D9 02 00 08
00 C0 00 00 08
#SEX
80 B0 00 E1 02 00 01
00 C0 00 00 01
#PicCode
80 B0 00 E2 02 00 14
00 C0 00 00 14
#GovName
80 B0 00 F6 02 00 64
00 C0 00 00 64
#GovCode
80 B0 01 5A 02 00 0D
00 C0 00 00 0D
#ISSUE Date
80 B0 01 67 02 00 08
00 C0 00 00 08
#Expire Date
80 B0 01 6F 02 00 08
00 C0 00 00 08
#Unknown
80 B0 01 77 02 00 02
00 C0 00 00 02
#Address
80 B0 15 79 02 00 A0
00 C0 00 00 A0
ข้อมูลภาษาไทยในบัตรจะเป็น tis-620 จะต้องทำการแปลงเป็น utf-8 ก่อนนำไปใช้กับฐานข้อมูล
ชื่อแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ คำนำหน้าชื่อ#ชื่อแรก#ชื่อกลาง#นามสกุล
ที่อยู่แบ่งออกเป็น 8 ส่วน คือ เลขที่#หมู่ที่#ตรอก#ซอย#ถนน#ตำบล-แขวง#อำเภอ-เขต#จังหวัด
เพศ 1=ชาย 2=หญิง
รูปแบบของวันที่ 8 ตัวอักษร = 25XXMMDD อยู่ในรูปของ พศ 4 ตัวอักษร เดือน 2 ตัวอักษร และ วันที่ 2 ตัวอักษร
#SELECT
00 A4 04 00 08 A0 00 00 00 54 48 00 01
00 C0 00 00 0A
#VERSION
80 B0 00 00 02 00 04
00 C0 00 00 04
#CID
80 B0 00 04 02 00 0D
00 C0 00 00 0D
#THAI NAME
80 B0 00 11 02 00 64
00 C0 00 00 64
#ENG NAME
80 B0 00 75 02 00 64
00 C0 00 00 64
#Birth Date
80 B0 00 D9 02 00 08
00 C0 00 00 08
#SEX
80 B0 00 E1 02 00 01
00 C0 00 00 01
#PicCode
80 B0 00 E2 02 00 14
00 C0 00 00 14
#GovName
80 B0 00 F6 02 00 64
00 C0 00 00 64
#GovCode
80 B0 01 5A 02 00 0D
00 C0 00 00 0D
#ISSUE Date
80 B0 01 67 02 00 08
00 C0 00 00 08
#Expire Date
80 B0 01 6F 02 00 08
00 C0 00 00 08
#Unknown
80 B0 01 77 02 00 02
00 C0 00 00 02
#Address
80 B0 15 79 02 00 A0
00 C0 00 00 A0
ข้อมูลภาษาไทยในบัตรจะเป็น tis-620 จะต้องทำการแปลงเป็น utf-8 ก่อนนำไปใช้กับฐานข้อมูล
ชื่อแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ คำนำหน้าชื่อ#ชื่อแรก#ชื่อกลาง#นามสกุล
ที่อยู่แบ่งออกเป็น 8 ส่วน คือ เลขที่#หมู่ที่#ตรอก#ซอย#ถนน#ตำบล-แขวง#อำเภอ-เขต#จังหวัด
เพศ 1=ชาย 2=หญิง
รูปแบบของวันที่ 8 ตัวอักษร = 25XXMMDD อยู่ในรูปของ พศ 4 ตัวอักษร เดือน 2 ตัวอักษร และ วันที่ 2 ตัวอักษร
36
คุยกับทีมวิจัย / Re: บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ด
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 12 ธันวาคม 2015, 01:16:43 »เริ่มต้น ขนาด ฐาน 16 รายละเอียด
0 4 0 4 version
4 13 4 D เลขบัตร
17 100 11 64 ชื่อภาษาไทย
117 100 75 64 ชื่อภาษาอังกฤษ
217 8 D9 8 วันเกิด
225 1 E1 1 เพศ
226 20 E2 14 เลขรหัสรูป
246 100 F6 64 ชื่อสถานที่ออกบัตร
346 13 15A D รหัสสถานที่
359 8 167 8 วันออกบัตร
367 8 16F 8 วันหมดอายุ
375 2 177 2 unknow
377 5120 179 1400 รูปภาพ
5497 160 1579 A0 ที่อยู่
0 4 0 4 version
4 13 4 D เลขบัตร
17 100 11 64 ชื่อภาษาไทย
117 100 75 64 ชื่อภาษาอังกฤษ
217 8 D9 8 วันเกิด
225 1 E1 1 เพศ
226 20 E2 14 เลขรหัสรูป
246 100 F6 64 ชื่อสถานที่ออกบัตร
346 13 15A D รหัสสถานที่
359 8 167 8 วันออกบัตร
367 8 16F 8 วันหมดอายุ
375 2 177 2 unknow
377 5120 179 1400 รูปภาพ
5497 160 1579 A0 ที่อยู่
37
คุยกับทีมวิจัย / บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ด
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 09 ธันวาคม 2015, 05:11:59 »บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ด
บัตรประจำตัวประชาชน คือเอกสารที่ทางราชการออกให้กับบุคคลผู้มีสัญชาติไทย และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฏหมายกำหนด (พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2526) เพื่อใช้ยืนยันตัวบุคคลกับเจ้าหนาที่ของรัฐหรือบุคคลที่จะมีส่วนได้เสียในการทำนิติกรรมสัญญาต่างๆ ประเทศไทยของเราเริ่มมีการนำบัตรประจำตัวประชาชนมาใช้ครั้งแรกตั้งแต่ปี 2486 โดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบคือกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย บัตรประชาชนมีการพัฒนารูปแบบมาตามยุคสมัยโดยลำดับ กระทั่งในปัจจุบันประเทศของเราได้มีนำเอาเทคโนโลยีสมาร์ทการ์ดมาใช้กับบัตรประชาชน เช่นเดียวกับในอีกหลายๆ ประเทศ ด้วยเหตุผลในด้านการป้องกันการถูกปลอมแปลง และความง่ายในกระบวนตรวจสอบความจริงแท้ของบัตร
สมาร์ทการ์ดคืออะไร
บัตรสมาร์ทการ์ดคือบัตรพลาสติกที่มีขนาดมาตรฐานตามข้อกำหนด ISO-7810 (ขนาดของบัตรเครดิตและเอทีเอ็ม) และมีชิพอีเล็กทรอนิกส์ฝังอยู่บนตัวบัตร โดยชิพนี้จะทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและจัดการเรื่องกลไกด้านความปลอดภัยของข้อมูล คุณลักษณะทางกายภาพและทางไฟฟ้าของชิพที่เป็นไปตามข้อกำหนด ISO-7816 บัตรประชาชนของเราใช้สมาร์ทการ์ดแบบชนิดมีหน้าสัมผัส (Contact Smartcard) ชิพเป็นแบบมีหน่วยประมวลผลขนาด 8 บิท มีหน่วยความจำชนิด EEPROM ขนาด 32-64KB ทำงานบนระบบปฏิบัตรการ Java Card OS มีแอพพลิเคชั่นที่ติดตั้งอยู่บนบัตร (Java Applet) อยู่ประมาณ 6 แอพพลิเคชั่น แต่ละแอพพลิเคชั่นจะเป็นของแต่ละหน่วยงานรัฐคือกรมการปกครอง, สป.สช., สำนักงานประกันสังคม, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, องค์การทหารผ่านศึกและกระทรวงกลาโหม
thaiid
นับตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ดมีการปรับเปลี่ยนมาแล้ว 3 เวอร์ชั่น มีการปรับเปลี่ยนผู้ผลิตชิพมาแล้วหลายราย ชิพรุ่นใหม่จะมีความเร็วในการอ่านข้อมูลกว่ารุ่นก่อนบ้างเนื่องจากประสิทธิภาพสูงกว่า โดยอนาคตชิพคงมีราคาลดลงไปอีก แต่คุณภาพจะสุงขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านความจุข้อมูลและความเร็วในการประมวลผล
บัตรออกเมื่อปี 2547 จำนวน 1 หมื่นใบให้กับบุคคลที่ไปร่วมในงานแถลงข่าวเปิดโครงการ
บัตรออกเมื่อปี 2549 จำนวน 10 ล้านใบให้กับประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และเขตกรุงเทพปริมณฑล
บัตรออกเมื่อปี 2551 จำนวนมากว่า 30 ล้านใบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหน้าบัตรและโครงสร้างข้อมูลภายในชิพ
ข้อมูลที่เก็บอยู่ในชิพสมาร์ทการ์ด
เนื่องจากสมาร์ทการ์ดสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก เมื่อเทียบกับบัตรชนิดอื่นๆ โดยในบัตรประชาชนของเราจะมีข้อมูลของหน่วยงานถึง 6 หน่วยงานด้วยกัน แต่โดยส่วนใหญ่ขอ้มูลเหล่านั้นจะถูกใช้กันภายในหน่วยราชการเท่านั้นเพราะเป็นข้อมูลชนิดปกปิด แต่ก็มีข้อมูลรายละเอียดของผู้ถือบัตรซึ่งพิมพ์อยู่บนหน้าบัตร ซึ่งจัดเก็บอยู่ในแอพเพลตของกรมการปกครองส่วนที่เป็น public sector ซึ่งเป็นส่วนที่เปิดไว้ให้สามารถอ่านออกไปใช้ได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการ Authentication ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางข้างล่าง โดยในปัจจุบันมีภาคเอกชนได้เริ่มเข้ามาใช้ประโยชน์จากข้อมูลจากบัตรประชาชนมากขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ เครื่องอ่านมีราคาไม่แพง
ลำดับ รายละเอียดข้อมูล ชนิด ขนาด
1 เวอร์ชั่น N 4
2 เลขประจำตัวประชาชน N 13
3 ชื่อภาษาไทย C 100
4 ชื่อภาษาอังกฤษ C 100
5 วันเดือนปีเกิด N 8
6 เพศ N 1
7 ที่อยู่ C 160
8 สถานที่ออกบัตร C 100
9 วันที่ออกบัตร N 8
10 วันหมดอายุ N 8
11 รูปถ่าย B 5120
อ้างอิง : http://www.idpassglobal.com/knowledge/national-id
https://freeshell.de/~jirawat/blog/?p=69
https://github.com/chakphanu/ThaiNationalIDCard
บัตรประจำตัวประชาชน คือเอกสารที่ทางราชการออกให้กับบุคคลผู้มีสัญชาติไทย และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฏหมายกำหนด (พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2526) เพื่อใช้ยืนยันตัวบุคคลกับเจ้าหนาที่ของรัฐหรือบุคคลที่จะมีส่วนได้เสียในการทำนิติกรรมสัญญาต่างๆ ประเทศไทยของเราเริ่มมีการนำบัตรประจำตัวประชาชนมาใช้ครั้งแรกตั้งแต่ปี 2486 โดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบคือกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย บัตรประชาชนมีการพัฒนารูปแบบมาตามยุคสมัยโดยลำดับ กระทั่งในปัจจุบันประเทศของเราได้มีนำเอาเทคโนโลยีสมาร์ทการ์ดมาใช้กับบัตรประชาชน เช่นเดียวกับในอีกหลายๆ ประเทศ ด้วยเหตุผลในด้านการป้องกันการถูกปลอมแปลง และความง่ายในกระบวนตรวจสอบความจริงแท้ของบัตร
สมาร์ทการ์ดคืออะไร
บัตรสมาร์ทการ์ดคือบัตรพลาสติกที่มีขนาดมาตรฐานตามข้อกำหนด ISO-7810 (ขนาดของบัตรเครดิตและเอทีเอ็ม) และมีชิพอีเล็กทรอนิกส์ฝังอยู่บนตัวบัตร โดยชิพนี้จะทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและจัดการเรื่องกลไกด้านความปลอดภัยของข้อมูล คุณลักษณะทางกายภาพและทางไฟฟ้าของชิพที่เป็นไปตามข้อกำหนด ISO-7816 บัตรประชาชนของเราใช้สมาร์ทการ์ดแบบชนิดมีหน้าสัมผัส (Contact Smartcard) ชิพเป็นแบบมีหน่วยประมวลผลขนาด 8 บิท มีหน่วยความจำชนิด EEPROM ขนาด 32-64KB ทำงานบนระบบปฏิบัตรการ Java Card OS มีแอพพลิเคชั่นที่ติดตั้งอยู่บนบัตร (Java Applet) อยู่ประมาณ 6 แอพพลิเคชั่น แต่ละแอพพลิเคชั่นจะเป็นของแต่ละหน่วยงานรัฐคือกรมการปกครอง, สป.สช., สำนักงานประกันสังคม, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, องค์การทหารผ่านศึกและกระทรวงกลาโหม
thaiid
นับตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา บัตรประชาชนสมาร์ทการ์ดมีการปรับเปลี่ยนมาแล้ว 3 เวอร์ชั่น มีการปรับเปลี่ยนผู้ผลิตชิพมาแล้วหลายราย ชิพรุ่นใหม่จะมีความเร็วในการอ่านข้อมูลกว่ารุ่นก่อนบ้างเนื่องจากประสิทธิภาพสูงกว่า โดยอนาคตชิพคงมีราคาลดลงไปอีก แต่คุณภาพจะสุงขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านความจุข้อมูลและความเร็วในการประมวลผล
บัตรออกเมื่อปี 2547 จำนวน 1 หมื่นใบให้กับบุคคลที่ไปร่วมในงานแถลงข่าวเปิดโครงการ
บัตรออกเมื่อปี 2549 จำนวน 10 ล้านใบให้กับประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และเขตกรุงเทพปริมณฑล
บัตรออกเมื่อปี 2551 จำนวนมากว่า 30 ล้านใบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหน้าบัตรและโครงสร้างข้อมูลภายในชิพ
ข้อมูลที่เก็บอยู่ในชิพสมาร์ทการ์ด
เนื่องจากสมาร์ทการ์ดสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก เมื่อเทียบกับบัตรชนิดอื่นๆ โดยในบัตรประชาชนของเราจะมีข้อมูลของหน่วยงานถึง 6 หน่วยงานด้วยกัน แต่โดยส่วนใหญ่ขอ้มูลเหล่านั้นจะถูกใช้กันภายในหน่วยราชการเท่านั้นเพราะเป็นข้อมูลชนิดปกปิด แต่ก็มีข้อมูลรายละเอียดของผู้ถือบัตรซึ่งพิมพ์อยู่บนหน้าบัตร ซึ่งจัดเก็บอยู่ในแอพเพลตของกรมการปกครองส่วนที่เป็น public sector ซึ่งเป็นส่วนที่เปิดไว้ให้สามารถอ่านออกไปใช้ได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการ Authentication ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางข้างล่าง โดยในปัจจุบันมีภาคเอกชนได้เริ่มเข้ามาใช้ประโยชน์จากข้อมูลจากบัตรประชาชนมากขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ เครื่องอ่านมีราคาไม่แพง
ลำดับ รายละเอียดข้อมูล ชนิด ขนาด
1 เวอร์ชั่น N 4
2 เลขประจำตัวประชาชน N 13
3 ชื่อภาษาไทย C 100
4 ชื่อภาษาอังกฤษ C 100
5 วันเดือนปีเกิด N 8
6 เพศ N 1
7 ที่อยู่ C 160
8 สถานที่ออกบัตร C 100
9 วันที่ออกบัตร N 8
10 วันหมดอายุ N 8
11 รูปถ่าย B 5120
อ้างอิง : http://www.idpassglobal.com/knowledge/national-id
https://freeshell.de/~jirawat/blog/?p=69
https://github.com/chakphanu/ThaiNationalIDCard
39
Linux Server System / httpry - HTTP logging and information retrieval tool
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 14 ตุลาคม 2015, 23:27:36 »เก็บ http url log
40
สินค้าและบริการ / Re: SmartRouterZ
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ 13 ตุลาคม 2015, 07:25:21 »รองรับลูกข่ายได้มากกว่า 100 เครื่อง
รองรับ b/w ความเร็วได้สูงสุดถึง 400Mbps
รองรับ b/w ความเร็วได้สูงสุดถึง 400Mbps